Search Result of "Cucumber Mosaic Virus"

About 44 results
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ที่มา:Thai Phytopathology

หัวเรื่อง:การประเมินความต้านทาน Cucumber mosaic virus ในมะเขือเทศดัดแปลงพันธุกรรม

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:ความหลากหลายทางชีวภาพของ Cucumber mosaic virus ที่แยกจากแตงกวาในประเทศไทย

ผู้เขียน:Imgภูวนารถ มณีโชติ

ประธานกรรมการ:Imgดร.พิสสวรรณ เจียมสมบัติ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กรรมการร่วม:Imgดร.รัชนี ฮงประยูร, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:Library Collection

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Construction of Single-Chain Variable Fragment (scFv) Specific to Cucumber Mosaic Virus by Phage Display Technology)

ผู้เขียน:ImgManeerat Koohapitagtam, ImgSuang Rungpragayphan, Imgดร.รัชนี ฮงประยูร, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Cucumber mosaic virus (CMV) causes serious problems in economically important crops, especially members of the Solanaceae and Cucurbitaceae families. Serological detection of this virus by specific antibodies is required as a control measure as well as for quarantine investigation to ensure any components used for agricultural propagation, especially commercial seeds, are disease free. However, the selection of recombinant antibodies by phage display nowadays presents a real challenge to provide the antibodies that are urgently needed. In this research, an anti-CMV single-chain variable fragment (scFv) was constructed using a phage display system. Both heavy (VH) and kappa light chain variable (Vk) genes were amplified by RT-PCR from the hybridoma cell line CM2, secreting a monoclonal antibody (MAb) specific to both serogroup I and II of CMV. The VH and Vk amplified products, approximately 400 bp in length, were joined by a PCR overlapping extension method to generate the scFv gene. A recombinant phagemid pCANTAB5E harboring the scFv gene was constructed and transformed into Escherichia coli TG1. The bacterial transformants were rescued by helper phage M13 to produce phage-displayd scFv and the screening for CMV-specific scFv was carried out by ELISA. Three positive, recombinant clones (2C1, 6A1 and 1D4) which gave high signal-to-noise in ELISA were utilized in order to produce soluble antibodies. Western blotting and DNA sequencing were performed to characterize the scFv products. The result showed that all clones were identical and able to bind CMV of both subgroups. DNA comparisons showed that all the VH belonged to the J558.32 subgroup and JH2, while Vk belonged to Vk genes and JK2.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 043, Issue 2, Apr 09 - Jun 09, Page 330 - 338 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การประเมินความต้านทานต่อเชื้อ Cucumber mosaic virus ของมะเขือเทศดัดแปลงพันธุกรรม

ผู้เขียน:Imgอัญญรัตน์ ฤทธิ์พิทักษ์พงศ์

ประธานกรรมการ:Imgดร.สุพัฒน์ อรรถธรรม, ศาสตราจารย์

กรรมการร่วม:Imgดร.คนึงนิตย์ เหรียญวรากร, รองศาสตราจารย์, Imgดร.รัชนี ฮงประยูร, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:Library Collection

Img

ที่มา:การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 9

หัวเรื่อง:มะเขือเทศเทคโนชีวภาพต้านทานเชื้อไวรัสใบด่างแตง

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Isolation of Cucumber Mosaic Virus, the Causal Agent of Pepper Mosaic In Thailand, from the Virus Complex )

ผู้เขียน:ImgSopon Wongkgew, Imgนายธีระ สูตะบุตร, ศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

การศึกษาถึงคุณสมบัติของเชื้อ cucumber mosaic virus (CMV) ที่ทำให้เกิดโรคใบด่างของพริก มักจะประสบปัญหาในเรื่องการปะปนของไวรัสชนิดอื่น เช่น tobacco mosaic virus (TMV) และ potato virus (PVY) อยู่แสมอ ทั้งนี้ เนื่องจากไวรัสทั้งสามชนิดดังกล่าวสามารถทำให้เกิดโรคกับพริกได้ และบ่อยครั้งที่ตรวจ พบไวรัสทั้งสามชนิดในพริกที่แสดงอาการเป็นโรค การสังเกตอาการจากภายนอกไม่อาจบอกได้ว่าเกิดจากเชื้อ CMV แต่เพียงอย่างเดียวหรือมีเชื้ออื่นปะปนอยู่ด้วย ดังนั้นการที่จะศึกษาถึงคุณสมบัติเฉพาะของเชื้อใดเชื้อหนึ่ง จำเป็นที่จะต้องแน่ใจเสียก่อนว่ามีเชื้อไวรัสเฉพาะชนิดนั้นๆ เพียงชนิดเดียว มิฉะนั้นคุณสมบัติที่ศึกษาได้จะไม่ใช่คุณสมบัติที่แท้จริงของไวรัสแต่ละชนิด และเนื่องจากการตรวจเชื้อไวรัสโดยการทดสอบกับ antiserum พบว่าไวรัสส่วนใหญ่ที่ทำให้เกิดโรคกับพริกในประเทศไทยเป็นเชื้อ CMV การศึกษาในระยะแรก จึงมุ่งถึงเชื้อชนิดนี้เป็นส่วนใหญ่ และขั้นแรกที่จะทำให้การศึกษาถึงสมบัติของเชื้อได้ผลถูกต้อง ก็คือการแยกเชื้อชนิดนี้ให้ปราศจากเชื้อชนิดอื่น

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 008, Issue 1, Jan 74 - Jun 74, Page 1 - 4 |  PDF |  Page 

Img

งานวิจัย

การประเมินความต้านทานของมะเขือเทศจำลองพันธุ์ต่อ cucumber musaic virus (2003)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.สุพัฒน์ อรรถธรรม, ศาสตราจารย์

แหล่งทุน:สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

ผลลัพธ์:วารสาร (2) ประชุมวิชาการ (1)

123